มูลนิธิ ซี.ซี.เอฟ.ฯ และ กสศ. ลงนามความร่วมมือ "โครงการครูสร้างชุมชน เพื่อเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร"
กองทุนเฉลิมพระเกียรติ 70 พรรษา สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อดำเนินโครงการพิเศษ 2 โครงการ
ข้าวจ้ำเล่าขานตำนาน "ประเพณีตีพิ" ต.สกาด อ.ปัว จ.น่าน
[20 มิถุนายน 2567] วันแรกของประเพณี “ตีพิ” ชาวบ้านจะต้องออกจากบ้านตั้งแต่เช้าตรู่ เพื่อเข้าป่าลึกหาไม้ไผ่
เยาวชนเรียนรู้เกษตรแบบผสมผสาน จ.พะเยา
[17 มิถุนายน 2567] การบริหารพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด หนึ่งปรัชญาในการออกแบบพื้นที่ทำเกษตรตามศาสตร์พระราชาที่สามารถนำมาปรับใช้ได้ทั้งพื้นที่เล็กหรือใหญ่
อัตลักษณ์ชุมชน : "ผู้ไทไขประตูเล้า" บุญเดือนสาม จ.ยโสธร
[14 มิถุนายน 2567] “ผู้ไท ไขประตูเล้า” เป็นประเพณีหนึ่งที่สำคัญของชาวผู้ไท ซึ่งคำว่า “ไขประตูเล้า แปลว่า เปิดประตูเล้า หมายถึง เล้าข้าวหรือยุ้งฉางข้าว” ที่เก็บรักษาข้าวไว้กินตลอดชีวิต
นวัตกรรมเกษตรผสมผสาน เพื่อ "อาหารเช้า" ในโรงเรียน จ.เชียงราย
[10 มิถุนายน 2567] นวัตกรรมเกษตรผสมผสาน เพื่อ "อาหารเช้า" ในโรงเรียน จ.เชียงราย
"สุขภาพดี เริ่มต้นที่อาหาร" จ.อำนาจเจริญ จัดอบรม “อสม. น้อย”
[6 มิถุนายน 2567] "สุขภาพดี เริ่มต้นที่อาหาร" จ.อำนาจเจริญ จัดอบรม "อสม. น้อย"
บ้านหลังใหม่ของฉัน สานฝันเพื่อยาย จ.ขอนแก่น
[30 พฤษภาคม 2567] ตั้งแต่จำความได้ ยาย พี่สาว และตัวหนูเองต้องสู้อดทนนอนรวมกันในบ้านที่แออัดไปด้วยสิ่งของต่าง ๆ มากมาย ในบ้านที่เก่าและทรุดโทรม
"อาหารเช้ามื้อแรก" ในวันเปิดเทอมที่โรงเรียนบ้านแม่โขง จ.เชียงใหม่
[23 พฤษภาคม 2567] เปิดเทอมใหม่ของหนู บรรยากาศแสนสนุก สุขใจ เด็ก ๆ ตื่นเต้นที่ได้สวมชุดนักเรียนใหม่
"ชิงเปรต" ประเพณีวันสารทเดือนสิบ จ.นราธิวาส
[20 พฤษภาคม 2567] "ชิงเปรต" ประเพณีวันสารทเดือนสิบ จ.นราธิวาส
ปลูกผักอินทรีย์ วิถีพอเพียง "น้องฟาร์ม" จ.เลย
ยายชอบปลูกผัก เลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ ผมชอบเก็บไข่ตอนเช้า ๆ มันสนุกและก็ได้ลุ้นว่าวันนี้เราจะได้ไข่กี่ฟอง
เรียนรู้วิถีคนดง "ชาวญัฮกุร" จ.ชัยภูมิ
ปัจจุบันพื้นที่ที่มีชาวญัฮกุรอาศัยอยู่หนาแน่นมากอยู่ที่บ้านน้ำลาด อ.เทพสถิต จ.ชัยภูมิ
"พานบายศรี เปิดทรัพย์" อัตลักษณ์ท้องถิ่น จ.อุดรธานี
"พิธีสู่ขวัญ" หรืออาจเรียกว่า "บายศรีสู่ขวัญ" ประเพณีสำคัญอีกประเพณีหนึ่งของชาวอีสานที่นิยมทำกันแทบทุกโอกาส